คุณเคยมีความรู้สึกนี้หรือไม่ ? เคยนอนหลับแล้วรู้สึกว่ามือเท้าเย็น หนาวสั่นที่หลัง นี่อาจเป็นเพราะว่า “หยาง” ในร่างกายคุณนั้นไม่เพียงพอ ซึ่งตามหลักแพทย์แผนจีนแล้ว อาการขาดหยางมากเกินไป อาจทำให้ภูมิคุ้มกันของในร่างกายบกพร่องได้ และคัมภีร์แพทย์แผนจีนโบราณหลายเล่มยังได้บันทึกไว้อีกด้วยว่า “การบำรุงด้วยอาหารย่อมดีกว่าบำรุงด้วยยา แต่การนอนหลับพักผ่อนนั้นถือเป็นยาบำรุงที่ดีที่สุด” บางเล่มยังได้มีการบันทึกเอาอีกไว้ว่า “ยาร้อยชนิดก็ไม่สู้การนอนหลับพักผ่อน”
คุณเคยมีความรู้สึกนี้หรือไม่ ? เคยนอนหลับแล้วรู้สึกว่ามือเท้าเย็น หนาวสั่นที่หลัง นี่อาจเป็นเพราะว่า “หยาง” ในร่างกายคุณนั้นไม่เพียงพอ ซึ่งตามหลักแพทย์แผนจีนแล้ว อาการขาดหยางมากเกินไป อาจทำให้ภูมิคุ้มกันของในร่างกายบกพร่องได้ และคัมภีร์แพทย์แผนจีนโบราณหลายเล่มยังได้บันทึกไว้อีกด้วยว่า “การบำรุงด้วยอาหารย่อมดีกว่าบำรุงด้วยยา แต่การนอนหลับพักผ่อนนั้นถือเป็นยาบำรุงที่ดีที่สุด” บางเล่มยังได้มีการบันทึกเอาอีกไว้ว่า “ยาร้อยชนิดก็ไม่สู้การนอนหลับพักผ่อน”
การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ หรือคุณภาพในการนอนไม่ดี อาจทำให้มีผลกระทบต่ออารมณ์ สมาธิ หรือแม้กระทั่งเกิดอาการปวดหัว เวียนหัว ปวดกล้ามเนื้อ หรืออ่อนเพลียขึ้นได้ ในตำราแพทย์แผนจีนกล่าวไว้ว่า คนที่นอนพักไม่เพียงพอมาเป็นเวลานานจะอยู่ในสภาวะร่างกายอ่อนแอ ในสภาวะเช่นนี้จะทำให้พลังหยางในร่างกายเกิดการเปลี่ยนแปลง ส่งผลกระทบต่อกับอวัยวะภายในอย่างสัมพันธ์กัน และถ้าหากคุณไม่ได้เข้านอนภายในระยะเวลาที่เหมาะสม คือช่วงเวลา 5 ทุ่มถึงตี 1 อาจจะทำให้อาการป่วยเดิมที่มีในร่างกายอยู่แล้วมีอาการแย่ลงได้ ในสมัยโบราณแพทย์จึงมักจะปฏิเสธการรักษาแก่คนไข้ที่นอนหลับพักผ่อนมาไม่เพียงพอ
อันตรายที่เกิดจากการที่นอนพักผ่อนไม่เพียงพอนั้นมีมากมายกว่าที่คุณคิด เพราะไม่ว่าคุณจะรับประทานอาหารเสริมหรือออกกำลังกายเป็นประจำแล้วก็ตาม ก็ยังไม่สามารถทดแทนอาการนอนหลับไม่เพียงพอได้เลย คนที่นอนดึกเป็นประจำมักจะมีอารมณ์แปรปรวน สายตาไม่ดี บางรายมีอาการของโรคซึมเศร้าร่วมด้วย บางคนอาจคิดว่าค่อยไปนอนกลางวันเอาในภายหลังก็ได้ แต่จริง ๆ แล้วนั่นไม่ได้ช่วยให้อาการดีขึ้นเลย วันนี้เราจึงมีเคล็ดลับการนอนโบราณที่สามารถช่วยบรรเทาอาการต่าง ๆ เหล่านี้ได้มาแนะนำ
1. เพิ่มพลังหยาง
การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ หรือคุณภาพในการนอนไม่ดี อาจทำให้มีผลกระทบต่ออารมณ์ สมาธิ หรือแม้กระทั่งเกิดอาการปวดหัว เวียนหัว ปวดกล้ามเนื้อ หรืออ่อนเพลียขึ้นได้ ในตำราแพทย์แผนจีนกล่าวไว้ว่า คนที่นอนพักไม่เพียงพอมาเป็นเวลานานจะอยู่ในสภาวะร่างกายอ่อนแอ ในสภาวะเช่นนี้จะทำให้พลังหยางในร่างกายเกิดการเปลี่ยนแปลง ส่งผลกระทบต่อกับอวัยวะภายในอย่างสัมพันธ์กัน และถ้าหากคุณไม่ได้เข้านอนภายในระยะเวลาที่เหมาะสม คือช่วงเวลา 5 ทุ่มถึงตี 1 อาจจะทำให้อาการป่วยเดิมที่มีในร่างกายอยู่แล้วมีอาการแย่ลงได้ ในสมัยโบราณแพทย์จึงมักจะปฏิเสธการรักษาแก่คนไข้ที่นอนหลับพักผ่อนมาไม่เพียงพอ
อันตรายที่เกิดจากการที่นอนพักผ่อนไม่เพียงพอนั้นมีมากมายกว่าที่คุณคิด เพราะไม่ว่าคุณจะรับประทานอาหารเสริมหรือออกกำลังกายเป็นประจำแล้วก็ตาม ก็ยังไม่สามารถทดแทนอาการนอนหลับไม่เพียงพอได้เลย คนที่นอนดึกเป็นประจำมักจะมีอารมณ์แปรปรวน สายตาไม่ดี บางรายมีอาการของโรคซึมเศร้าร่วมด้วย บางคนอาจคิดว่าค่อยไปนอนกลางวันเอาในภายหลังก็ได้ แต่จริง ๆ แล้วนั่นไม่ได้ช่วยให้อาการดีขึ้นเลย วันนี้เราจึงมีเคล็ดลับการนอนโบราณที่สามารถช่วยบรรเทาอาการต่าง ๆ เหล่านี้ได้มาแนะนำ
1. เพิ่มพลังหยาง
คุณสามารถฝึกฝนนอนในท่านี้ได้ทุกวันก่อนเข้านอน โดยนอนราบไปกับพื้น แยกเข่าออก งอขา และนำฝ่าเท้ามาประกบกัน โดยเท้าทั้งสองข้างจะต้องอยู่กึ่งกลางของลำตัวพอดี ฝ่ามือทั้งสองวางแปะไว้บนท้องน้อย จากนั้นให้ฝึกลมหายใจเข้าออกด้วยขณะทำท่านี้ ให้หายใจเข้าทางจมูก และหายใจออกทางปาก โดยควบคุมให้ลมหายใจเข้าไปในท้องน้อย ฝึกท่านี้ต่อเนื่องทุกวัน ครั้งละครึ่งชั่วโมง
2. ผสานพลังหยวน
2. ผสานพลังหยวน
หลังจากที่ฝึกนอนด้วยท่าแรกได้แล้วเป็นเวลา 1 เดือน ให้ฝึกฝนท่านอนนี้ต่อ โดยส่วนขาให้ทำท่าเหมือนกับท่าแรก แต่ต่างกันที่มือทั้งสองข้างนำมาประสานกัน และวางไว้บนศีรษะของตัวเอง
สิ่งที่ควรระมัดระวังขณะนอนหลับ
1. ทิศการนอน
ศีรษะควรหันไปทางทิศเหนือ ส่วนปลายขาให้หันไปทางทิศใต้ เพื่อเป็นไปตามทิศทางของสนามแม่เหล็กโลก เพราะในขณะนอนหลับ สมองของเราจะได้รับคลื่นแม่เหล็กอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นการนอนในทิศทางนี้จึงสามารถช่วยให้กระแสของคลื่นแม่เหล็กขนานไปกับร่างกายเรา และเกิดความสมดุลตามความเชื่อของแพทย์แผนจีน
2. ท่าทางการนอน
2. ท่าทางการนอน
นอนตะแคงข้าง และขดตัวคล้ายกับรูปคันธนู ไปพร้อมกับหันหน้าไปทางขวามือ เพื่อจะช่วยให้หัวใจเราทำงานได้สะดวกขึ้น เพราะหัวใจจะได้ไม่ต้องแบกรับภาระน้ำหนักตัวของทางฝั่งขวามากดทับ
3. ระยะเวลานอนหลับ
3. ระยะเวลานอนหลับ
ควรนอนดึกตื่นเช้าในฤดูใบไม้ผลิ ส่วนฤดูใบไม้ร่วงควรเข้านอนเร็วและตื่นเช้า ส่วนในฤดูหนาวควรเข้านอนเร็วและตื่นสาย ควรรักษาระยะเวลานอนให้ได้วันละ 8 ชั่วโมงทุกวัน และมากกว่านี้สำหรับผู้มีอาการป่วย
4. ช่วงเวลาการนอน
4. ช่วงเวลาการนอน
ไม่ว่าคุณจะเป็นคนทำงานกะดึกหรือเช้าก็ตาม ควรจะมีช่วงเวลาการนอนที่เหมาะสมกับชีวิตประจำวันและร่างกายของคุณ ระยะเวลาเข้านอนที่เหมาะสมตามตำราแพทย์แผนจีน คือ ตั้งแต่ 5 ทุ่มเป็นต้นไปจนถึงตี 1 และตั้งแต่ 11 โมงเป็นต้นไปจนถึงบ่าย 1 โมง เพราะในช่วงเวลานี้จะเกิดอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงในร่างกาย จึงเหมาะสมที่สุดแก่การเข้านอน
5. สภาพแวดล้อมในการนอน
5. สภาพแวดล้อมในการนอน
ในห้องนอน ไม่ควรมีเครื่องใช้ไฟฟ้า หรือจำกัดให้น้อยที่สุด เพื่อป้องกันร่างกายได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่อาจจะส่งผลกระทบต่อสมอง และไม่ควรสวมใส่นาฬิกา ฟันปลอม หรือจับโทรศัพท์มือถือไว้ขณะนอนหลับด้วย
เป็นอย่างไรบ้างคะกับเคล็ดลับต่าง ๆ ที่เราได้แนะนำไป หวังว่าต่อไปนี้เพื่อนๆจะนอนได้อย่างถูกต้อง และมีสุขภาพแข็งแรงขึ้นนะคะ และอย่าลืมแบ่งปันบทความดี ๆ แบบนี้ให้แก่คนที่คุณรักอ่านกันด้วยนะคะ!
เป็นอย่างไรบ้างคะกับเคล็ดลับต่าง ๆ ที่เราได้แนะนำไป หวังว่าต่อไปนี้เพื่อนๆจะนอนได้อย่างถูกต้อง และมีสุขภาพแข็งแรงขึ้นนะคะ และอย่าลืมแบ่งปันบทความดี ๆ แบบนี้ให้แก่คนที่คุณรักอ่านกันด้วยนะคะ!
ที่มา siam.thaidooonline.com