โรคปากนกกระจอก การรักษา อาการของโรคปากนกกระจอก โรคผิวหนังเป็นสาเหตุของโรคปากนกกระจอก


2,163 ผู้ชม


โรคปากนกกระจอก การรักษา อาการของโรคปากนกกระจอก โรคผิวหนังเป็นสาเหตุของโรคปากนกกระจอก

 

 

 

โรคปากนกกระจอก


ภาพจาก clinicneo.co.th
ริมฝีปากอักเสบ และแผลในช่องปากมีอาการพอง เป็นจุดหรือเจ็บแสบที่ปาก ริมฝีปาก หรือลิ้น แม้ว่าการเจ็บแสบ และความผิดปกติที่ปากจะมีอยู่หลายประเภท โดยส่วนใหญ่ของอาการผิด ปื้นปกติเหล่านี้จะเป็นโรคปากนกกระจอก ปากเปื่อย เนื้อเยื้อในปากเป็นสีขาวๆ (Leukoplakia) และการติดเชื้อแคนดิดา (Candidiasis) โรคเหล่านี้จะมีคำอธิบายเพิ่มเติมด้านล่าง ริมฝีปากอักเสบ และการมีแผลพองที่ปาก สามารถทำให้มีอาการเจ็บปวด ไม่น่าดู และเป็นสาเหตุของการเกิดโรคปากนกกระจอก - ปัญหาของโรคผิวหนังเอง เช่น Atopic dermatitis ( ผิวหนังอักเสบแพ้จากภูมิแพ้ในเด็ก ) Seborrheic dermatitis ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคปากที่ระคายเคืองเวลารับประทานอาหาร เวลาพูด โรคแผลในปาก มีการอาการต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์หรือมากกว่า ควรได้รับการตรวจจากทันตแพทย์ ทันตแพทย์อาจแนะนำ การตัดเนื้อเยื่อไปตรวจ เพื่อนำไปวิเคราะห์หาสาเหตุ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุ ของโรคร้ายแรง เช่น มะเร็ง หรือ HIV นก กระจอกที่พบได้บ่อยที่สุด - ผู้ป่วยสูงอายุที่ไม่มีฟัน ทำให้รูปปากผิดปกติ ทำให้เกิดการอับชื้นที่มุมปาก เกิดการติดเชื้อจากเชื้อราได้ - การขาดอาหาร ได้แก่ การขาดวิตามินบี 2 พบมากในเครื่องใน เช่น ตับ ไต , นมเปรี้ยว , ผักใบเขียว ปลา วิธีการรักษาริมฝีปากอักเสบและแผลในช่องปาก มีการรักษาได้หลายแบบขึ้นอยู่กับอาการของโรคที่คุณมี ส่วนใหญ่โรคแผลในปากตามที่ได้อธิบาย รายละเอียดในด้านบน มีการรักษาดังต่อไปนี้ โรคปากนกกระจอก – โดยปกติแล้วโรคปากนกกระจอกจะหายได้ภายใน 7-10 วัน ถึงแม้ว่าอาการจะเกิดขึ้นอีกเป็นปกติ ไม่มียาที่สั่งจากแพทย์โดยเฉพาะซึ่งเป็นยาขี้ผึ้ง หรือยาบรรเทาอาการปวด สามารถบรรเทาได้เพียงชั่วคราวเป็นบ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปาก ที่ต่อต้านจุลินทรีย์อาจช่วยอาการอักเสบได้ บางครั้งยาปฏิชีวนะอาจเป็นการลดอาการทางอ้อมได้ ปากอักเสบ – แผลพุพองโดยปกติสามารถหายได้ภายใน 1 สัปดาห์ แต่อาจกลับมาเป็นอีกซ้ำอีกได้ หากผู้ป่วยมีอารมณ์ไม่ดี โดนแดดมากเกินไป หรือนไข้ ไม่มียาชาเฉพาะที่ที่สามารถใช้บรรเทาอาการปวดชั่วคราวได้ ยาต้านชื้อไวรัสที่แพทย์สั่งอาจช่วยลดการติดเชื้อที่เกิดจากไวรัสบางชนิดได้ โปรดปรึกษาทันตแพทย์ หรืออายุรแพทย์ Leukoplakia - การรักษาอาจเริ่มจากการหลีกเลี่ยงจากปัจจัยที่ทำให้เกิดแผล เช่น คนไข้บางคนอาจเลิกสูบบุหรี่ หรือในรายอื่นๆ อาจหมายถึงการใส่ฟันปลอมที่ไม่พอดี ก็เปลี่ยนฟันปลอมในมีความพอดีกับฟันของเรา ทันตแพทย์ของคุณสังเกตอาการ หรือตรวจสอบแผลอักเสบในช่วงระเวลา 3-6 เดือน ขึ้นอยู่กับชนิด ตำแหน่ง และขนาดของแผล Candidiasis - การรักษาประกอบด้วยการควบคุมสาเหตุของการแพร่กระจาย ทำความสะอาดฟันปลอม ซึ่งสำคัญต่อการป้องกันปัญหาการติดเชื้อที่เกิดจากฟันปลอม ยาปฏิชีวนะ หรือยาคุมกำเนิดบางชนิดเป็นสาเหตุ ก็ให้ลดปริมาณ หรือเปลี่ยนการรักษาก็อาจช่วยได้ สิ่งที่ทดแทนน้ำลาย ก็ช่วยลดอาการปากแห้งได้ ยาต้านเชื้อราอาจใช้รักษาเมื่อไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ หรือไม่สามารถรักษาได้ การดูแลช่องปากให้มีอนามัยที่ดีเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด


แหล่งที่มา : sumon-kananit.socialgo.com

อัพเดทล่าสุด