g6pd คืออะไร ทารกตัวเหลือง g6pd g6pd deficiency มีผลกับเด็กอย่างไร


42,382 ผู้ชม


g6pd คืออะไร  ทารกตัวเหลือง g6pd  g6pd deficiency มีผลกับเด็กอย่างไร

                g6pd คืออะไร

G6PDคืออะไร

น้องม่อนเป็นโรคนี้อยู่ค่ะ น่าสงสารจริง ๆใน โลกของเรานี้มีอะไรที่เราไม่รู้อยู่เยอะมากค่ะ แม้แต่เรื่องใกล้ตัว เช่นโรคต่าง ๆที่ไม่เคยรู้จัก อยู่ดี ๆ ก็มาเกิดกับคนของเรา มาได้ไงเนี่ย
ฉัน กำลังบอกเล่าให้ฟังถึง สารในฮีโมโกบินตัวหนึ่งค่ะ ชือว่าG6PD ค่ะ G6PD คือสารตัวหนึ่งที่มีอยู่ในเม็ดเลือดแดง ผู้ที่ขาดสารตัวนี้ เมื่อถูกการกระตุ้นให้
เม็ดเลือดแดงแตกตัว เช่นการทานยาบางชนิดหรือทานถั่วปากอ้าเข้าไป ก็จะไม่มีการสร้างเม็ดเลือดแดงขึ้นมาทดแทน และเม็ดเลือดแดงก็จะแตกตัวอยู่เรื่อย ๆ ถ้าไม่มีการเติมเลือดให้กับร่างกาย ก็จะหัวใจวายได้ หรือเมื่อไตทำงานมากเกินไปในการกำจัดเม็ดเลือดแดงที่แตกตัวแล้ว ก็จะไตวาย
ขออนุญาตนำเอาบทความของอาจารย์เนตรทอง นามพรม มาเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์ ไว้ที่นี่ และขอกราบขอบพระคุณไว้ ณ ที่นี้ด้วยค่ะG6PD Deficiency
เขียนโดย เนตรทอง นามพรม
คู่มือการดูแลผู้ป่วยที่ขาดเอนไซด์ จี 6 พีดี
(G6PD Deficiency Reference Guide)
เนตรทอง นามพรม, เรียบเรียง
อาจารย์ประจำภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภาวะพร่องเอนซัยด์ จีซิกพีดี หรือ G6PD Deficiency
G6PD Deficiency (Glucose-6-Phosphate Dehydrogenase deficiency) เป็นภาวะพร่องเอนซัยด์ G6PD ที่พบบ่อยในมนุษย์ มีประชากรประมาณ 400 ล้านคนทั่วโลก ที่มีภาวะนี้
ภาวะนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ โรคแพ้ถั่วปากอ้า(Favism) G6PD Deficiency มีการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ผ่านทางโครโมโซมเอกซ์ (X-linked recessive fashion) ทำให้มีผลกระทบต่อเพศชายมากกว่าเพศหญิง การวินิจฉัยโรคนี้ใช้การตรวจสอบทางพันธุกรรม
สิ่งสำคัญคือ ถ้าคุณมีภาวะนี้ เมื่อไม่สบายคุณจะต้องบอกแพทย์ พยาบาล หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องในทีมสุขภาพ เพื่อจะได้ระมัดระวังในการใช้ยารักษา
ถ้าคุณขาดเอนซัยด์ G6PD จะเป็นอย่างไร?
ปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นคือ ภาวะโลหิตจางและภาวะเหลืองในทารกแรกเกิด ซึ่งมีสาเหตุจากการขาดสาร nicotinamide dinucleotide phosphaste (NADPH) ซึ่งต้องอาศัยเอนซัยด์ G6PD เป็นตัวกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ในเซลปกติ NADPH จะทำหน้าที่ในการกำจัดสาร อ๊อกซิแดนซ์ที่จะทำลายเซลต่างๆ ของร่างกาย
สำหรับ คนที่เป็น สามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติถ้าไม่ไปสัมผัสสารที่กระตุ้นทำให้เกิดปัญหาดัง กล่าว สิ่งสำคัญคือเมื่อคุณไม่สบายและต้องได้รับการรักษาคุณจะต้องบอกแพทย์ พยาบาลหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องทางสุขภาพให้ทราบว่าคุณเป็น G6PD Deficiency และไม่ควรซื้อยารับประทานเอง ยาที่ต้องห้ามในคนที่เป็นG6PD Deficiency คือ aspirin ยาต้านมาเลเรีย
การรักษาปัญหาภาวะเลือดจางจากเม็ดเลือดแดงแตกคือ การให้ออกซิเจนทางจมูก นอนพัก(bed rest) ให้เลือด ให้ยา folic acid และ การเปลี่ยนถ่ายเลือด
ใน ทารกแรกเกิดที่มีภาะตัวเหลืองจาก G6PD Deficiency ซึ่งมีผลจากการลดลงของการทำหน้าที่ของ G6PD ในตับ ซึ่งทำให้เกิดปัญหาแทรกซ้อนรุนแรงต่อระบบประสาท การรักษาใช้การส่องไฟ (bili-light)

คำถามที่มักถูกถามบ่อยเกี่ยวกับ G6PD Deficiency ?
1. ฉันเป็น G6PD Deficiency ได้อย่างไร ?
ตอบ เป็นโดยการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์
2. โอกาสที่จะถ่ายทอดถึงลูก
ตอบ แสดงดังไดอะแกรมข้างล่าง
3. วิธีการดูแลตัวเองของคนที่เป็นG6PD Deficiency
ตอบ ห้ามรับประทายยาที่ระบุไว้ในแผ่นพับนี้เองโดยไม่ปรึกษาแพทย์ หลีกเลี่ยงการกินถั่วปากอ้า บอกบุคลากรสุขภาพว่าคุณเป็น G6PD Deficiency และเอารายชื่อยาที่ต้องหลีกเลี่ยงให้ดู
4. อาการของภาวะโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตก
ตอบ คุณจะรู้สึกเหนือ่ยง่ายย หายใจสั้นๆ หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ และอาจมีปัสสาวะเป็นสีน้ำโคลา
5. ฉันสามารถบริจาคเลือดได้หรือไม่
ตอบ ไม่ได้
ยาที่ต้องหลีกเลี่ยง
Analgesics / Antipyretics
acetanilid aceophenetidine(phenaceti) amindopyrine(amiopyrine)*
antipyrine* aspirin* phenacetin
probenicid pyramidone
Miscellaneous
alpha-methyldopa ascobic acid* dimercapol(BAL)
hydrazine mestranol methylene blue
nalidixic acid naphthalene Niridazole
phenylhydrazine toluidine blue Trinitrotoluene
urate oxidase vitamin K*(water soluble) pyridium, quinine*
Antimalarials
chloroquine* hydroxychloroquine mepacrine(quinacrine)
pamaquine pentaquine primaquine
quinine* quinocide
Cytotoxic / Antibacterial
chloramphenicol co-trimoxazole furazolidone
furmethonol nalinixic acid neoarsphenamine
nitrofurantoin nitrofurazone para -aminosalicylic acid
Cardiovascular Drugs
proainamide* quinidine
Sulfonamides / Sulfones
dapsone sulfacetamide sulfamethoxypyrimidine
sulfanilamide sulfapyridine sulfasalazine
sulfisoxazole

สิ่งอื่นๆที่ควรหลีกเลี่ยง
ถั่วปากอ้า ไวน์แดง พืชตระกูลถั่ว
บลูเบอรี่ โยเกริตที่มีส่วนประกอบของถั่วปากอ้า
ไวน์แดง พืชตระกูลถั่ว
บลูเบอรี่ ถั่วเหลือง
โทนิค (tonic)
โซดาขิง การบูร
ที่มา: Ernest Beutler,M.D.,Prof. Lucio Luzzatto, Prof.P.Marradi.Italian Health Ministry.

ยาที่รับประทานได้
• แต่ต้องอยู่ในระดับของการรักษา
Acetaminophen(paracetamol
hydroxyacetanilide)
Aminopyrine
(Pyramidon, amidopyrine)*
Ascobic acid 9Vitamin C) *
Chlorguanidine
(Proguanil, Paludrine)
Diphenhydrsmine(Benadryl)
Menadione
p-Aminobenzoic acid
Probenecid (Benemid)
Streptomycin
Sulfaquanidine
Fulfisoxazole(Gantrisin)
Vitamin K*
Tylenol
Acetophenetidin
(phenacetin)
Anyazoline(Antistine)
Benzhezol (Artane)
Chloroquine*
Isoniazid
sodium bisulfite(Hykinone)
Phenylbutazone
Procian amide (Daraprim)
Sulfacytine
Sulfamerazine
Trimethoprim
Tralgon
Acetylsalicylic acid (aspirin)*,
Antipyrine*
Chloramphenicol
Colchicine
L – Dopa
Menapthone
Phenytoin
Quinidine*, Quinine*
Sulfadiazine
sulfamethoxypyridazine(Kynex)
Tripelennamine
(pyribenzamine)

(หมาย เหตุ * หมายถึงชื่อยาที่ปรากฏทั้งยาต้องห้ามและยาที่รับประทานได้ แต่เป็นยาที่ควรหลีกเลี่ยง หากต้องใช้จริงๆ จะต้องรับประทานในระดับของการรักษา)
(คัดลอกจาก Ernest Beutler,M.D." Glucose-6-phosphate dehydrogenase deficiency," ใน Erythrocyte disorder: Anemias due to increased destruction of erythrocytes with enzyme deficiences, p.598)
Update and published by Associazione Italiana Favismo-Deficit di G6PD(ONLUS) https://www.favism.org/
เรียบเรียงโดย: เนตรทอง นามพรม ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โรคพร่อง จี ซิกซ์ พี ดี ( G6PD )
บุคคลที่เป็นโรคนี้จะเป็นปกติทุกอย่าง ยกเว้นได้รับยาหรือสารอาหารบางอย่าง เช่น
ถั่วปากอ้าหรือได้รับสารระเหยจากลูกเหม็น ทำให้เม็ดเลือดแดงแตก มีผลให้ร่างกายอ่อนเพลีย
ซีดเหลือง ปัสสาวะเข้มเป็นสีน้ำตาลดำคล้ายสีน้ำปลา หรือรุนแรงมากอาจไม่มีปัสสาวะเลย
คำแนะนำในการปฏิบัติตัว
1. อย่าซื้อยากินเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์
2. ทานอาหารได้ทุกอย่าง ยกเว้นถั่วปากอ้า
3. ห้ามใช้ลูกเหม็น ก้อนดับกลิ่น
4. ถ้าซีดลง ตัวเหลือง หรือปัสสาวะมีสีน้ำตาลดำให้ปรึกษาแพทย์
5. แสดงบัตรแก่แพทย์ผู้รักษาทุกครั้ง
ยาและสารที่ไม่ควรใช้ในผู้ป่วย จี ซิก พี ดี
1. ยารักษาไข้มาเลเรีย : Quinine , Quinacrine ( Atabin ) , Primaquine
2. ยาจำพวกซัลฟา : Sulfapyridine , Trimetroprim , Sulfamethoxazole
3. ยารักษาโรคเรื้อน : Dapsone , DDS , Thaizolsulfone Sulfoxone ( Diazone )
4. ยาแก้ท้องเสีย : ์Nitrofurantoin , Furazolidone , Nitrofurazone
5. ยาแก้ไข้ แก้ปวด : Actanilid , Aspirin , Antipyrine , Acetophenetidine
6. ยาอื่นๆ : Naptithaline , Quinidine , BAL , Probenacid
                    Link  https://www.bloggang.com

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

 

                  ทารกตัวเหลือง g6pd

ภาวะพร่องเอนซัยด์ จีซิกพีดี หรือ G6PD Deficiency

     G6PD Deficiency (Glucose-6-Phosphate Dehydrogenase deficiency) เป็นภาวะพร่องเอนซัยด์ G6PD ที่พบบ่อยในมนุษย์ มีประชากรประมาณ 400 ล้านคนทั่วโลก ที่มีภาวะนี้ 

Dim lights
วิดีโอตัวอย่างการเจาะเลือดส่งตรวจ G6PD

ภาวะนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ โรคแพ้ถั่วปากอ้า(Favism) G6PD Deficiency มีการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ผ่านทางโครโมโซมเอกซ์ (X-linked recessive fashion) ทำให้มีผลกระทบต่อเพศชายมากกว่าเพศหญิง การวินิจฉัยโรคนี้ใช้การตรวจสอบทางพันธุกรรม

สิ่งสำคัญคือ ถ้าคุณมีภาวะนี้ เมื่อไม่สบายคุณจะต้องบอกแพทย์ พยาบาล หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องในทีมสุขภาพ เพื่อจะได้ระมัดระวังในการใช้ยารักษา

 ถ้าคุณขาดเอนซัยด์ G6PD จะเป็นอย่างไร?

ปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นคือ ภาวะโลหิตจางและภาวะเหลืองในทารกแรกเกิด ซึ่งมีสาเหตุจากการขาดสาร nicotinamide dinucleotide phosphaste (NADPH) ซึ่งต้องอาศัยเอนซัยด์ G6PD เป็นตัวกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ในเซลปกติ NADPH จะทำหน้าที่ในการกำจัดสาร อ๊อกซิแดนซ์ที่จะทำลายเซลต่างๆ ของร่างกาย

สำหรับคนที่เป็น สามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติถ้าไม่ไปสัมผัสสารที่กระตุ้นทำให้เกิดปัญหาดัง กล่าว สิ่งสำคัญคือเมื่อคุณไม่สบายและต้องได้รับการรักษาคุณจะต้องบอกแพทย์ พยาบาลหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องทางสุขภาพให้ทราบว่าคุณเป็น G6PD Deficiency และไม่ควรซื้อยารับประทานเอง ยาที่ต้องห้ามในคนที่เป็นG6PD Deficiency คือ aspirin ยาต้านมาเลเรีย

การรักษาปัญหาภาวะเลือดจางจากเม็ดเลือดแดงแตกคือ การให้ออกซิเจนทางจมูก นอนพัก(bed rest) ให้เลือด ให้ยา folic acid และ การเปลี่ยนถ่ายเลือด

ในทารกแรกเกิดที่มีภาะตัวเหลืองจาก G6PD Deficiency ซึ่งมีผลจากการลดลงของการทำหน้าที่ของ G6PD ในตับ ซึ่งทำให้เกิดปัญหาแทรกซ้อนรุนแรงต่อระบบประสาท การรักษาใช้การส่องไฟ (bili-light)

g6pd

คำถามที่มักถูกถามบ่อยเกี่ยวกับ G6PD Deficiency ?

1. ฉันเป็น G6PD Deficiency ได้อย่างไร ?
ตอบ เป็นโดยการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์

2. โอกาสที่จะถ่ายทอดถึงลูก
ตอบ แสดงดังไดอะแกรมข้างล่าง

g6pd

3. วิธีการดูแลตัวเองของคนที่เป็นG6PD Deficiency
ตอบ ห้ามรับประทายยาที่ระบุไว้ในแผ่นพับนี้เองโดยไม่ปรึกษาแพทย์ หลีกเลี่ยงการกินถั่วปากอ้า บอกบุคลากรสุขภาพว่าคุณเป็น G6PD Deficiency และเอารายชื่อยาที่ต้องหลีกเลี่ยงให้ดู

4. อาการของภาวะโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตก
ตอบ คุณจะรู้สึกเหนือ่ยง่ายย หายใจสั้นๆ หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ และอาจมีปัสสาวะเป็นสีน้ำโคลา

5. ฉันสามารถบริจาคเลือดได้หรือไม่
ตอบ ไม่ได้

ยาที่ต้องหลีกเลี่ยง

 Analgesics / Antipyretics
acetanilid aceophenetidine(phenaceti) amindopyrine(amiopyrine)*
antipyrine* aspirin* phenacetin
probenicid pyramidone  
 Miscellaneous
alpha-methyldopa ascobic acid* dimercapol(BAL)
hydrazine mestranol methylene blue
nalidixic acid naphthalene Niridazole
phenylhydrazine toluidine blue Trinitrotoluene
urate oxidase vitamin K*(water soluble) pyridium, quinine
 Antimalarials
chloroquine* hydroxychloroquine mepacrine(quinacrine)
pamaquine pentaquine primaquine
quinine* quinocide  
 Cytotoxic / Antibacterial
chloramphenicol co-trimoxazole furazolidone
furmethonol nalinixic acid neoarsphenamine
nitrofurantoin nitrofurazone para -aminosalicylic acid
 Cardiovascular Drugs
proainamide* quinidine  
 Sulfonamides / Sulfones
dapsone sulfacetamide sulfamethoxypyrimidine
sulfanilamide sulfapyridine sulfasalazine
sulfisoxazole    

สิ่งอื่นๆที่ควรหลีกเลี่ยง

  1. ถั่วปากอ้า
  2. ไวน์แดง
  3. พืชตระกูลถั่ว
  4. บลูเบอรี่
  5. โยเกริตที่มีส่วนประกอบของถั่วปากอ้า ไวน์แดง พืชตระกูลถั่ว บลูเบอรี่
  6. ถั่วเหลือง
  7. โทนิค (tonic)
  8. โซดาขิง
  9. การบูร

ที่มา: Ernest Beutler,M.D.,Prof. Lucio Luzzatto, Prof.P.Marradi.Italian Health Ministry.

ยาที่รับประทานได้

Acetaminophen(paracetamol) Tylenol Tralgon
hydroxyacetanilide Acetophenetidin Acetylsalicylic acid (aspirin)*
Aminopyrine (phenacetin) Antipyrine*
(Pyramidon, amidopyrine)* Anyazoline(Antistine) Chloramphenicol
Ascobic acid 9 (Vitamin C) * Benzhezol (Artane) Colchicine
Chlorguanidine Chloroquine* L – Dopa
(Proguanil, Paludrine) Isoniazid Menapthone
Diphenhydrsmine(Benadryl) sodium bisulfite(Hykinone) Phenytoin
Menadione Phenylbutazone Quinidine*, Quinine*
p-Aminobenzoic acid Procian amide (Daraprim) Sulfadiazine
Probenecid (Benemid) Sulfacytine sulfamethoxypyridazine(Kynex)
Streptomycin Sulfamerazine Tripelennamine
Sulfaquanidine Trimethoprim (pyribenzamine)
Fulfisoxazole(Gantrisin)    
Vitamin K*    

หมายเหตุ * หมายถึงชื่อยาที่ปรากฏทั้งยาต้องห้ามและยาที่รับประทานได้ แต่เป็นยาที่ควรหลีกเลี่ยง หากต้องใช้จริงๆ จะต้องรับประทานในระดับของการรักษา

คัดลอกจาก Ernest Beutler,M.D." Glucose-6-phosphate dehydrogenase deficiency," ใน Erythrocyte disorder: Anemias due to increased destruction of erythrocytes with enzyme deficiences, p.598) Update and published by Associazione Italiana Favismo-Deficit di G6PD(ONLUS) https://www.favism.org/

เรียบเรียงโดย: เนตรทอง นามพรม ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ม.ค. 2548

             Link  https://www.cmnb.org/

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

 

               g6pd deficiency มีผลกับเด็กอย่างไร

G6PD DEFICIENCY article

G6PD DEFICIENCY

     การขาดเอ็นไซน์G6PD เป็นภาวะทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดทางโครโมโชมX เพศชายมีโครโมโชมเป็นXY ดังนั้นถ้าได้รับX ที่เป็นภาวะนี้ก็จะเกิดภาวะนี้ขึ้น แต่เพศหญิง เป็น XX ถ้ามีXที่เป็น G6PD Deficieancy 1 ตัวจะเป็นพาหะแต่ไม่เป็นโรค เพศหญิงจะเป็นได้ต้องมีXที่เป็นโรคถึง 2 ตัว โรคน้จึงพบบ่อยในเพศชาย

    G6PD เป็นเอนไซน์ในเม็ดเลือดแดง มีความสำคัญคือ ในภาวะที่เกิดภาวะเครียดต่อเม็ดเลือดแดงเช่นการได้รับยาบางชนิด สารแนปทาลีน(ลูกเหม็น) ไม่สบายเป็นไข้สูง จะเกิดสารที่เป็นอันตรายต่อเม็ดเลือดแดงอาจทำให้เม็ดเลือดแดงแตกได้ G6PD จะช่วยเปลี่ยนสารอันตรายไปเป็นสารที่ไม่อันตรายต่อเม็ดเลือดแดงเม็ดเลือดแดง จึงไม่แตก จากเหตุผลดังกล่าวจะเห็นว่าในภาวะปกติ G6PD ไม่ได้ทำหน้าที่อะไร แต่จะทำหน้าที่เมื่อเกิดภาวะที่อาจเกิดอันตรายต่อเม็ดเลือดแดง ถ้าเม็ดเลือด แดแตกจะเห็นปัสสาวะเป็นสีโค้ก

     การวินิจฉัย เจาะเลือดตรวจระดับเอนไซน์G6PD 

    ดังนั้นถ้าลูกเป็น G6PD Deficiencyหรือการขาดเอนไซน์G6PD ผู้ปกครองไม่ต้องวิตกกังวลให้เลี้ยงลูกเหมือนเด็กปกติทั่วไปเพียงแต่ให้ทราบ ไว้ว่าลูกเป็นภาวะนี้ และหลีกเลี่ยงสารที่เป็นอันตรายต่อเม็ดเลือดแดงเช่น ยากลุ่มซัลฟา แอสไพริน ลูกเหม็น ถั่วปากอ้าเป็นต้น และถ้าลูกมีไข้ให้ดูแลลดไข้และรักษาตามสาเหตุเพื่อไม่ให้เม็ดเลือดแดงแตก โดยทั่วไปผู้ที่มีภาวะนี้สามารถใช้ชีวิตเหมือนคนปกติทั่วไปแต่ให้ทราบว่าตัว เองมีภาวะนี้อยู่และหลีกเลี่ยงยาและสารบางอย่างที่แพทย์แนะนำ

ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ที่พร่องเอนไซน์ G6PD
1เมื่อเจ็บป่วย ไม่ควรซื้อยากินเอง ควรปรึกษาแพทย์และแจ้งให้แพทย์ทราบว่าเป็นโรคนี้
2.หลีกเลี่ยงยาและอาหารบางอย่างเช่น ถั่วปากอ้า
3.เมื่อมีอาการซีดลง เพลีย ปัสสาวะสีเข้ม(เหมือนสีโค้ก) ตัวเหลือง ตาเหลือง ควรพบแพทย์โดยด่วน
รายชื่อยาที่ควรหลีกเลี่ยงสำหรับผู้ที่พร่องเอนไซน์ G6PD
1.ยารักษามาเลเรีย ได้แก่ PRIMAQUINE,PAMAQUINE,PENTAQUINE,QUINAQUINEและQUININE
2.ยาลดไข้แก้ปวด ได้แก่ ACETANILID,ASPIRIN,PHENACETIN,PYRAMIDONE
3.ยาจำพวกซัลฟา ได้แก่ SULFANILAMIDE,SULFAPYRIDINE,SULFACETAMIDE, SULFISOXAZOLE,
SULFANETHOXYPYRIDAZINE
4.ยาบางอย่างเช่น FURAZOLIDONE,NITROFURANTOIN,CHLORAMPHENICOL, PARAMINOSALICYLIC,
NAPIHALINE(ลูกเหม็นที่ใช้ไล่แมลง),VITAMIN K, TRINITROTOLUENE,METHYLENE BLUE,
DIMEREAPROL,PHENYLHYDRAZINE,QUINIDINE

         Link   https://www.thaikidclinic.com

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++ 


            

อัพเดทล่าสุด